ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นองค์กรขนาดเล็ก ความเล็กทำให้เราทำงานได้สะดวก รวดเร็วมากกว่าองค์กรขนาดใหญ่
เรามีอาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ที่ไม่มากจนเกินไป เราจึงอยู่ด้วยกันแบบพี่น้อง ต่างช่วยเหลือกัน เกิดบรรยากาศที่พูดคุยกันได้
นอกจากนี้ เรายังสร้างวัฒนธรรมที่เรียกว่า สังคมแห่งการตื่นรู้ การสร้างสังคมแห่งสติ เพื่อฝึกให้รู้สึกตัวทั่วพร้อม โดยผ่านกิจกรรมต่างๆ หล่อหลอมให้บุคคลากรและนักศึกษาได้ตระหนักรู้และเข้าถึงความดี ความจริง ความงาม เพื่อนำไปสู่การทำงานด้วยความสุข
โดยสุจริต โปร่งใส่ สามารถตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน เพราะนั่นคือหนทางนำไปสู่การสร้างความมั่งคง ได้จากภายในตนเอง ตามหลักปรัชญาของเรา
โทรศัพท์: 02 441 5022 ต่อ 19
การศึกษา
มัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียบมงฟอร์ตวิทยาลัย เชียงใหม่ 2522
แพทยศาสตร์บัณฑิตคณะแพทยสาสตร์ศิริราชพยาบาล 2529
วุฒิบัตรวิชาชีพเฉพาะทางจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ 2533
โรงพยาบาลรามาธิบดี
ปริญญาดุษฎีบัณฑิตสาขาระบาดวิทยาจิตเวช 2541
Institute of Psychiatry, University of London
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒาคุณภาพ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 2544 - 2547
หัวหน้าภาควิชาจิตเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 2547 - 2553
ผู้อำนวยการศูนย์จิตตปัญญาศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล 2553 - 2563
ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง
พ.ศ.2566 – จนถึงปัจจุบัน
e-mail: chatchawan.sil@mahidol.ac.th
โทรศัพท์: 02 441 5022 ต่อ 19
e-mail: jirattakarn.pon@mahidol.ac.th , kruoui@gmail.com
โทรศัพท์: 02 441 5022-3 ต่อ 25
การศึกษา
อ.บ.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศษ.ม. (บริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ค.ด.(พัฒนศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
JittakarnPongpakatien is the deputy director of the ContemplativeEducation Centre, Mahidol University. Jittakarn received her BA in English fromChulalongkorn University (1990), her M.ED from Kasetsart University (2002) andher PhD from Chulalongkorn Unviersity (2007). Jittakarn has professionalexperience as a school teacher (1992-1996), and as a deputy, and then schoolprincipal (1997-2004).
E-mail : patiphat.ant@mahidol.ac.th
โทรศัพท์ : 02-441-5022-23
การศึกษา
e-mail : nutthawadee.lem@mahidol.ac.th
โทรศัพท์ : 02-4415022-3 ต่อ 13
เป็นสถาบันหลักด้านจิตตปัญญาศึกษาระดับประเทศและนานาชาติ เพื่อการพัฒนามนุษย์และสังคมอย่างยั่งยืน
มุ่งเน้นที่ขับเคลื่อนจิตตปัญญาศึกษา ผ่านการศึกษา การวิจัย และบริการวิชาการ
เพื่อพัฒนามิติด้านในของมนุษย์ นำไปสู่การเปลี่ยนแปลง ทั้งในระดับบุคคล องค์กร ชุมชน และสังคมอย่างยั่งยืน
1.การวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้
2.หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
3.การบริการวิชาการเพื่อสังคม
4.การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน
E-mail : laksanavadee.jat@mahidol.ac.th
โทรศัพท์ : 02 441 5022-3 ต่อ 18
การศึกษา
คุณวุฒิ ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขา ดุริยางค์ไทย (เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง)
สถานศึกษา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ปี พ.ศ.2541
คุณวุฒิ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวัฒนธรรมศึกษา
สถานศึกษา สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล ปี พ.ศ.2544
E-mail : arisa.sum@mahidol.ac.th
โทรศัพท์ : 02 441 5022-3 ต่อ 23
การศึกษา
การศึกษาปริญญาเอก 2563
สาขาวิชาการศึกษานอกระบบ ภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต (ค.ด.)
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปริญญาโท 2556
หลักสูตรจิตตปัญญาศึกษาและการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง (ศ.ม.)
ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
ปริญญาตรี 2549
สาขาวิชาภาษาอิตาเลียน ภาควิชาตะวันตก (อ.บ.)
เกียรตินิยมอันดังหนึ่งเหรียญทอง
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
e-mail: ploetphan.dae@mahidol.ac.th , counseling.growth@gmail.com
โทรศัพท์: 02 441 5022-3 ต่อ 21
การศึกษา
ค.บ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศศ.ม. (จิตวิทยาการปรึกษา)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศศ.ด. (จิตวิทยา)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ProetphanDaensilp is a lecturer at the CEC. She received her BEd fromChulalongkorn University in 1998; an MA in counseling psychology fromChulalongkorn University in 2001, and a PhD from Chulalongkorn University in2007. Before beginning at the CEC Proetphan practiced as a counselingpsychologist (2001- present), and worked as a lecturer at MahachulaongkornUniversity (2007-2008).
ดร.จิรัฐกาล พงศ์ภคเรียร
ภายใต้ค่านิยมหลักของมหาวิทยาลัย และค่านิยมของศูนย์
คือ MUCE
ประกอบด้วย M = Mindfulness, U = Un-conditionality,
C = Co-creation และ E = Experiential Reality
ดร.ปฏิพัทธ์ อนุรักษ์ธรรม
น.ส.ดวงรัตน์ ขึ้นฮะง้อ
นายกฤชกร วงษ์ศรีษะ
E-mail : decho.nit@mahidol.ac.th
โทรศัพท์ : 02-441-5022-23
น.ส.ลักษณาวดี จตุรภัทร์
งานฝึกอบรม
นายศรายุทธ์ ทัดศรี
นายชวรัตน์ รัตนเสถียร
พัฒนาคุณภาพ
น.ส.สุนิตา สร้อยสริม
น.ส.ดวงรัตน์ ชินฮะง้อ
บริหารความเสี่ยง
นายบุรินธร สันติชีวะเสถียร
การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ OIT
น.ส.ณัฐธิดา แพทย์ประสิทธิ์
งานงบประมาณ
น.ส.ดารกาไร สระสมทรัพย์
E-mail : chararinchon.sat@mahidol.ac.th
โทรศัพท์ : 02-441-5022-23
การศึกษา
เภสัชศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัยมหิดล
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(สาขาวิชาจิตตปัญญาศึกษา) ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การอบมรมอื่นๆ
SatirTransformational Systemic Therapy (STST Level 1-2)
GrossNational Happiness Masterclass
งานพลังกลุ่ม ความสุข (เสมสิกขาลัย)
การสื่อสารอย่างสันติ (Non-violentcommunication)
การดูแลเด็กตามแนวทางนีโอฮิวแมนิสต์,DIR-Floortime, และการสร้างวินัยเชิงบวก
ดร.อริสา สุมามาลย์
น.ส.ดวงรัตน์ ชินฮะง้อ
ดร.เพริศพรรณ แดนศิลป์
น.ส.วัลภา ศรีสวัสดิ์
นายสกล สถิตย์พงษ์
นายเดโช นิริกิตตน์ขจร
การเงินและบัญชี
น.ส.ดารกาไร สระสมทรัพย์
น.ส.ณัฐวดี ลิ้มทอง
พัสดุ
น.ส. ศศิธร จําปาไตร
สารบรรณ ขายหนังสือ
นายบุรินธร สันติ วะเสถียร
ทรัพยากรบุคคล
น.ส.สุนิตา สร้อยสงิม
เทคโนโลยีสารสนเทศ
น.ส.ณัฐธิดา แพทยประสิทธิ์
โสตทัศนศึกษา
นายกฤชกร วงษ์ศรีษะ
แม่บ้าน
นางบุญยืน รอดไพบูลย์
e-mail : burinthon.san@mahidol.ac.th
โทรศัพท์ : 024415022-23 ต่อ 10
e-mail: luechai.sri@mahidol.ac.th
โทรศัพท์: 02 441 5022 ต่อ 19
คือองค์กรการศึกษา ที่ดำเนินการจัดการเรียนการสอนและการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้และการปฏิบัติด้านจิตตปัญญาและการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ในมิติและบริบทที่หลากหลาย จากอดีตที่ผ่านมา ศูนย์จิตตปัญญาศึกษาทำงานร่วมกับเครือข่ายนักวิชาการ นักปฏิบัติ นักขับเคลื่อนสังคม และผู้สนใจใฝ่เรียนรู้ทั้งในสังคมไทยและต่างประเทศ เพื่อผลักดันให้แนวคิดและการปฏิบัติด้านจิตตปัญญาแพร่ขยายไปสู่วงกว้าง อันจะเป็นประโยชน์ต่อทั้งปัจเจกบุคคลและสังคมโดยรวม
ผู้ซึ่งได้นำวิถีแบบจิตตปัญญาไปใช้ในการขับเคลื่อนงานของตนเอง ไม่ว่าจะเป็น การสอนในชั้นเรียน การฝึกอบรมให้กับสมาชิกองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน การทำงานในเชิงเยียวยา หรือการผลิตสื่อในรูปแบบต่างๆ เครือข่ายดังกล่าวนี้เชื่อว่า ถึงเวลาแล้วที่สถาบันการศึกษาในกระแสหลักของประเทศจะได้ก่อตั้งองค์กรภายในเพื่อทำหน้าที่เผยแพร่และพัฒนาองค์ความรู้และวิถีปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับจิตตปัญญา ผ่านการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา และการจัดกิจกรรมเชิงวิชาการในรูปแบบต่างๆ อาทิ การจัดอบรมสัมมนา การอบรมเชิงปฏิบัติการ และการประชุมวิชาการประจำปี ซึ่งทั้งหมดนี้ได้กลายเป็นที่มาของศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
กระบวนการเรียนรู้และวิถีปฏิบัติที่ศูนย์จิตตปัญญาศึกษาล้วนมุ่งเน้นการปลุกให้ปัจเจกบุคคลเกิดความตื่นรู้ บนฐานของการภาวนาและการใคร่ครวญอย่างลึกซึ้ง แนวทางการปฏิบัติประกอบไปด้วยกิจกรรม อาทิ การเจริญสติในรูปแบบต่าง ๆ สุนทรียสนทนา การเคลื่อนไหวร่างกาย การทำงานศิลปะและกระบวนการสร้างสรรค์ ซึ่งล้วนถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือสำคัญของทั้งผู้เรียนและผู้สอน ในการสืบค้น เรียนรู้ และทำความเข้าใจเกี่ยวกับตนเอและผู้อื่น รวมไปถึงสัมพันธภาพระหว่างบุคคล องค์กร และสังคมวงกว้าง เป้าหมายของการศึกษาที่นี่คือ การบ่มเพาะ สร้างเสริมทักษะและองค์ความรู้ให้แก่นักปฏิบัติและนักการศึกษาในบริบทต่างๆ รวมทั้งสร้างแรงบันดาลใจแก่ผู้เรียน ให้เกิดความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาคุณภาพภายในของตนเอง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถในเชิงวิชาชีพ
เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขทั้งต่อตนเอง ผู้อื่นและสังคม ปัจจุบัน ผลงานของศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ปรากฏเป็นที่ประจักษ์มากขึ้นในสังคม โดยเฉพาะในวงการการศึกษาและการพัฒนามนุษย์ ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ทั้งหมดนี้ล้วนมีที่มาจากปณิธานของศูนย์ฯ ในการยกระดับสุขภาวะของคนในสังคมให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นอย่างแท้จริง
ประกอบด้วยนักวิชาการจากหลากหลายสาขาและความเชี่ยวชาญ อาทิ แพทยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ นิเวศน์วิทยา เศรษฐศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ จิตวิทยา ศิลปกรรมศาสตร์ บริหารธุรกิจ รัฐศาสตร์ สื่อสารมวลชน ศาสนศึกษาและปรัชญา ทุกคนล้วนมีความมุ่งมั่นในการจัดการศึกษาและเผยแพร่องค์ความรู้และแนวทางปฏิบัติด้านจิตตปัญญา เพื่อให้ผู้เรียนและผู้สนใจได้ค้นพบศักยภาพที่แท้ภายในตนเอง และสามารถพัฒนาเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงให้แก่สังคมต่อไป ไม่เพียงแต่เฉพาะคณาจารย์ของศูนย์ฯ ที่มีความแตกต่างหลากหลายในเชิงวิชาชีพและความเชี่ยวชาญ นักศึกษาในหลักสูตรมหาบัณฑิตของศูนย์ฯ จากอดีตจนถึงปัจจุบันก็ล้วนมีที่มาและประสบการณ์ด้านวิชาชีพที่แตกต่างกันออกไปเช่นกัน อาทิ ครูอาจารย์ แพทย์ พยาบาล กระบวนกร ครูโยคะ วิศวกร นักประชาสัมพันธ์ นักเขียน นักสื่อสารมวลชน ผู้ประกอบการทางธุรกิจ การเรียนรู้จากความหลากหลายในเชิงประสบการณ์ชีวิตนี้เองที่ส่งผลให้ผู้จบการศึกษาจากหลักสูตรดังกล่าว สามารถก้าวไปสู่หนทางแห่งความสำเร็จในชีวิตส่วนตัวและการงาน รวมทั้งสร้างคุณูปการมากมายแก่สังคม
ประกอบด้วย โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้วยกระบวนการเรียนรู้แนวจิตตปัญญา (สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ) โครงการศึกษาวิเคราะห์องค์ความรู้การขับเคลื่อนสุขภาวะทางปัญญาในประเทศไทยและต่างประเทศ (สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส.) และโครงการจากใจสู่ใจ: คุณค่า ความสุข และพลังภายในที่แท้จริง (สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส.)
ศูนย์ฯ ได้กลายเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้า เผยแพร่ และปฏิบัติการด้านจิตตปัญญาศึกษาที่สำคัญของประเทศไทย ผลงานของศูนย์ เช่น ตำรา หนังสือ งานสัมมนา งานอบรม และงานประชุมวิชาการประจำปี ได้ปรากฏออกสู่สาธารณะอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบัน ศูนย์จิตตปัญญาศึกษาได้ขยายเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานและองค์กร ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ อาทิ สถาบัน Mind & Life เสมสิกขาลัย สถาบันอาศรมศิลป์ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส) เป็นต้น ซี่งความร่วมมือดังกล่าวกำลังทยอยปรากฏผลอย่างเป็นรูปธรรมในสังคมไทยปัจจุบัน
e-mail : srayoot.tha@mahidol.ac.th
โทรศัพท์ : 024415022-23 ต่อ 21
ชื่อ = ผู้ช่วยผู้อำนวยการ
ชื่อ = ผู้ดูแลงานหลัก
ชื่อ = ผู้ดูแลงานรอง
ปรับปรุงใหม่ : ปี ๒๕๖๖